หน้าแรก
- การขายและการตลาด
- ทำไมต้องจัดเก็บประวัติลูกค้า
- การเงินและบัญชี
- หน้ารายการ
- อ่านงบการเงินเป็นได้อย่างไร
- เทคนิคการวิเคราะห์งบการเงิน
- วิธีการจัดทำและวิเคราะห์งบการเงิน
- สูตรการคำนวณอัตราส่วน
- การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
- การจัดทำงบประมาณ
- การศึกษาทางการเงินเพื่อขยายกิจการ
- การเปรียบเทียบงบประมาณ
- การจัดทำงบกระแสเงินสดแบบง่าย
- การจัดทำรายงานสำหรับผู้บริหาร
- นโบบายบัญชีและการเงิน
- ความรู้เบื้องต้นในเรื่องบัญชี
- การบันทึกบัญชีรายรับรายจ่าย
- การมีระบบใบสำคัญรับ-จ่ายของธุรกิจ SMEs
- การวางระบบบัญชีของกิจการ
- ความรู้เรื่องงบการเงิน
- การยื่นขอสินเชื่อธนาคาร
- หลักเกณฑ์การให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน
- การเตรียมแผนธุรกิจเพื่อขอสินเชื่อ
- มารู้จักความหมายที่แท้จริงของเงินทุนหมุนเวียน
- เทคนิคการบริหารเงินสดให้มีสภาพคล่อง
- การบริหารลูกหนี้การค้า
- เงื่อนไขที่ควรมีกับการให้เครดิตเทอมแก่ลูกหนี้การค้า
- การเสนอส่วนลดเงินสดให้แก่ลูกหนี้การค้า
- การเร่งรัดและติดตามลูกหนี้การค้า
- เตรียมความพร้อมและติดตามการขอสินเชื่อกัน
- การยื่นงบการเงิน
- การบริหารจัดการเจ้าหนี้การค้า
- การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ
- การตัดสินใจการลงทุน
- การวิเคราะห์การลงทุน
- การวางแผนภาษีนิติบุคคลของธุรกิจ SMEs
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการบันทึกรายรับรายจ่าย
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการวางแผนการจัดซื้อ
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการบริหารลูกหนี้การค้า
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการบริหารจัดการสินค้าคงเหลือ
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการวางระบบการคำนวณต้นทุนการผลิต
- คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ
- ทัศนคติและคุณสมบัติของผู้ประกอบการที่ดี
- คุณพร้อมหรือไม่ในการเป็นเจ้าของธุรกิจ
- ความแตกต่างระหว่างการเช่ากับการเช่าซื้อทรัพย์สิน
- โลจีสต์ติกและการขนส่ง
- การขายและการตลาด
- การขยายตลาดเพื่อเพิ่มยอดขาย
- 8 กลยุทธ์ช่วยธุรกิจเติบโตทุกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
- 5 ข้อควรระวังบริหารกิจการช่วงขาลง
- 7 ยุทธวิธีสร้างกิจการเจริญเติบโตช่วงเศรษฐกิจขาลง
- เครื่องมือทางการตลาด 4P
- การวิจัยด้านการตลาด
- การวิเคราะห์ 5 forces
- ทำไมต้องจัดเก็บประวัติลูกค้า
- แนวคิดการตั้งราคาขาย
- การบริหารความต้องการลูกค้า
- เครื่องมือการตลาดที่ SMEs ควรรู้
- สร้างธุรกิจเติบโต ด้วยกลยุทธ์การเจาะตลาด
- การสร้างตราสินค้า
- การบริหารคงคลังโดย FIFO
- การจัดการสินค้าคงคลัง
- มารู้จัก Bar Code กัน
- ABC analysis
- การลดความสูญเสียในกระบวนการทำงาน
- มารู้จัก GMP กัน
- ต้นทุนการผลิต และวิธีการลดต้นทุนการผลิต
- SMEs Case Study บริษัท ผลิภัณฑ์อาหารสุนี จำกัด #ลดความสูญเสียในส่วนของการผลิต
- SMEs Case Study บริษัท ผลิภัณฑ์อาหารสุนี จำกัด #ลดการสูญเสียเนื้อปลาในกระบวนการผลิต
- SMEs Case Study บริษัท ผลิภัณฑ์อาหารสุนี จำกัด #การปรับปรุงวิธีการทำงาน เพื่อลดต้นทุนการผลิต
- SMEs Case Study #หจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
- SMEs Case Study #บริษัท ต หมูกระจกโคราช จำกัด
- SMEs Case Study #หจก.บุสยาริณฑ์
- SMEs Case Study #โรงงานผลิตอาหารทะเลแช่แข็ง
- SMEs Case Study #โรงงานผลิตยางแท่ง STR 20
- SMEs Case Study #แผนกตรวจสอบคุณภาพเสื้อผ้า
- SMEs Case Study #โรงงานผลิตน้ำแข็งเพื่อการบริโภค
- แนวคิดการทำธุรกิจ #สร้างสรรที่กรวดน้ำพกพา
- แนวคิดการทำธุรกิจ #แค่เปลี่ยนวิธีนำเสนอแบบใหม่ก็ขายได้แล้ว
- แนวคิดการทำธุรกิจ
- Idea การทำธุรกิจ ธุรกิจที่มาแรง ในปี พ.ศ.2016
- 25 ไอเดียธุรกิจสุดเจ๋ง! ที่คุณสามารถทำควบคู่ไปกับงานประจำ
- 4 ไอเดียธุรกิจส่วนตัว ที่น่าสนใจในปี 2560
- 5 วิธีคิด เพื่อสร้างไอเดียธุรกิจใหม่ๆ สำหรับทำธุรกิจปีไก่ กุ๊กกุ๊ก
- 7 ไอเดียธุรกิจ สำหรับการหาเงินแบบ จับเสือมือเปล่า
- 10 ไอเดีย เริ่มต้นทำธุรกิจอะไรดี ในปี 2017
- ไอเดียทำธุรกิจแบบอินดี้ อินดี้ ที่น่าสนใจสำหรับวัยรุ่น ปี 2560
- การหาจุดคุ้มทุน
- แนวโน้มอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
- แน้วโน้มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติก ปี 2560
- คุณภาพและมาตรฐาน
- หน้ารายการ
- ความหมายของคุณภาพสินค้า
- คุณภาพสินค้าสำคัญอย่างไร
- คุณภาพในมุมมองของผู้ผลิตและลูกค้า
- การกำหนดคุณภาพสินค้า
- การทดสอบหาวันหมดอายุของผลิตภัณฑ์อาหาร
- ต้นทุนของคุณภาพ
- การควบคุมคุณภาพเริ่มต้นอย่างไร
- ฉลากอาหารต้องมีข้อมูลอะไรบ้าง
- แนวทางการตรวจสอบคุณภาพอย่างง่าย
- การปรับปรุงคุณภาพและพัฒนางาน ตอนที่ 1
- การปรับปรุงคุณภาพและพัฒนางาน ตอนที่ 2
- การแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพ
- เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพ
- มาตรฐานคุณภาพสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อการยอมรับ
- อาหารประเภทใดบ้างที่ต้องมี อย.
- อาหารใดบ้างที่ต้องมีฉลาก
- แนวทางการยืดอายุอาหารและเครื่องดื่ม
- ประเภทบรรจุภัณฑ์กับอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ตอนที่ 1
- ประเภทบรรจุภัณฑ์กับอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ตอนที่ 2
- การทดสอบหาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารในสภาวะเร่ง
- แนวทางการคัดเลือกบรรจุภัณฑ์อาหารที่เหมาะสม
- การเลือกใช้สารปรุงแต่งกลิ่นรสในอาหาร
- การปรับปรุงสินค้าเดิมเพื่อลดต้นทุน
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
- การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้สอดคล้องกับกระแสการบริโภค
- การนำสินค้าใหม่ไปทำวิจัยตลาด
- แนวทางปฏิบัติของการบริหารกลยุทธ์ที่แตกต่างกันในแต่ละขั้นตอนของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
- การปรับปรุงสินค้าเดิมเพื่อยืดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
- แนวโน้มอุตสาหกรรมและขนาดตลาดของธุรกิจอาหาร
- แนวโน้มอุตสาหกรรมและขนาดตลาดของธุรกิจแปรรูปสมุนไพร
- แนวโน้มอุตสาหกรรมและขนาดตลาดของธุรกิจแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
- การจัดรูปแบบโรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่มให้สอดคล้องกับ GMP ตอนที่ 1
- กรณีศึกษา : โรงขนมจีนกับการเตรียมตัวเพื่อขอการรับรอง GMP
- กรณีศึกษา : โรงผลิตผงปรุงรสกับการปรับปรุงงานเพื่อประสิทธิภาพการผลิต
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตซอส เพิ่มประสิทธิภาพและลดสูญเสียด้วยกิจกรรมกลุ่ม QCC
- กรณีศึกษา : โรงขนมจีนกับการลดสูญเสียโดยการปรับปรุงคุณภาพงานด้วยวงจร PDCA
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตก๋วยเตี๋ยวปรับปรุงคุณภาพสินค้าด้วยเครื่องมือคุณภาพ
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตแหนม เพิ่มประสิทธิภาพและลดสูญเสียด้วยกิจกรรมกลุ่ม QCC
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตบะหมี่แช่แข็งต้องการปรับปรุงคุณภาพเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา
- ทรัพยากรบุคคล
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการสรรหา(Recruitment)
- การคัดเลือกบุคลากร (Selection)
- เทคนิคการสัมภาษณ์ก่อนการตัดสินเลือก (Interview)
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการปฐมนิเทศ (Orientation)
- การออกแบบระบบประเมินผลงาน
- รูปแบบการประเมินผลงาน
- ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการกำหนดข้อบังคับและวินัยในการทำงาน
- งานเอกสารเกี่ยวกับงานบุคคล
- สำรวจข้อมูล SWOT
- การวางแผนและการสร้างระบบความก้าวหน้าในอาชีพ
- ประโยชน์ของระบบความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path)
- ตัวชี้วัดประสิทธิผลของโปรแกรมความก้าวหน้าในอาชีพ
- คาดการณ์ความต้องการบุคลากร
- ภาพรวมการบริหารทรัพยากรบุคคล
- บริหารแรงงานต่างด้าว
- ถามมา-ตอบไปกับงานบุคคล
- การบริหารจัดการผู้มีความสามารถโดดเด่น
- อบรมและพัฒนาบุคลากร: การประเมินความจำเป็นในการฝึกอบรม
- อบรมและพัฒนาบุคลากร: การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม
- อบรมและพัฒนาบุคลากร: รูปแบบ/วิธีการฝึกอบรม
- การประเมินผลการพัฒนาบุคลากร
- การบริหารค่าตอบแทน: วิธีการประเมินค่างาน
- การบริหารค่าตอบแทน: รูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนต่อการปฏิบัติงาน
- การบริหารค่าตอบแทน: กฎหมายกับการจ่ายค่าจ้าง
- สิทธิประโยชน์บริการพนักงาน
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน ด้วยกิจกรรมกลุ่มย่อย
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน : การสร้างความยุติธรรม
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน: จริยธรรม/คุณธรรม
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน: รูปแบบการสร้างสัมพันธภาพ
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน: การสำรวจความพึงพอใจ
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความปลอดภัย
- การตรวจสอบสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน
- โครงสร้างองค์การ (Organization Structure)
- การวางแผนอัตรากำลังคนในช่วงเริ่มต้นธุรกิจ
- การวิเคราะห์งาน (Job Analysis)
- คาดการณ์แรงงานที่มีและความต้องการของแรงงานในธุรกิจที่ทำ
- การกำหนดคำพรรณาลักษณะงาน (JD)
- การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง (JS)
- โครงสร้างอัตราเงินเดือนพื้นฐานและสิทธิประโยชน์
- กำหนดนโยบายและระเบียบพื้นฐาน
- การกำหนดสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน
- กฏหมาย
- เทคโนโลยีสารสนเทศ
เว็บไซต์ภายใต้กรม ฯ
บทความที่เกี่ยวข้อง
ทำไมต้องจัดเก็บประวัติลูกค้า
ปัจจุบันในยุคของการสื่อสารผ่านระบบสังคมออนไลน์ ลูกค้า (Customer) ถือเป็นรากฐานสำคัญของความก้าวหน้าขององค์กรอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ซึ่งไม่ได้เป็นเพียงแค่ผลกำไรขององค์กรเท่านั้น ดังนั้น การจัดเก็บประวัติลูกค้าเพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลของลูกค้า (Customer Database) จึงถือว่าเป็นหัวใจสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าในการแย่งส่วนแบ่งการตลาด องค์กรต่างๆ จึงจำเป็นต้องจัดเก็บประวัติลูกค้าที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอต่อการนำมาใช้งานทางด้านการตลาด และฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องมีการปรับปรุงใหม่ให้มีความทันสมัยอยู่โดยตลอด เนื่องจากความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีจะไม่สามารถทำได้เลย ถ้าหากองค์กรไม่มีฐานข้อมูลของลูกค้า นอกจากนี้ฐานข้อมูลของลูกค้ายังสามารถทำให้องค์กรปรับเปลี่ยนกลยบุทธ์ต่างๆ โดยเฉพาะกลยุทธ์ทางการตลาด ได้แก่ การจัดโปรโมชัน (Promotion) ได้อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา รวมไปถึงการแจ้งข่าวสารสำคัญๆ ที่มีประโยชน์ต่อลูกค้าโดยตรง อาทิเช่น การส่งของขวัญพร้อมทั้งคำอวยพรในช่วงเทศกาลหรือวาระพิเศษอื่นๆ ของลูกค้า และการแจ้งสิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้กับลูกค้าก่อนถึงวันหมดสิทธิ์รับผลประโยชน์ดังกล่าว เป็นต้น เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้จนสร้างความพึงพอใจของลูกค้าได้เต็มประสิทธิภาพ ซึ่งผลประโยชน์ที่ได้จากการจัดเก็บประวัติลูกค้าเพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลของลูกค้านั้น สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้
- สามารถกำหนดระดับความสำคัญของกลุ่มลูกค้าแต่ละประเภทได้ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการกลุ่มลูกค้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
- สามารถกำหนดกลยุทธ์ต่างๆ ในการปรับเปลี่ยนระดับของกลุ่มลูกค้าให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับองค์กรจนกลายเป็นกลุ่มลูกค้าขององค์กรในระยะยาวได้
- สามารถกระตุ้นกลุ่มลูกค้าให้มีกิจกรรมร่วมกันกับองค์กร เพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกลุ่มลูกค้ากับองค์กรได้
- สามารถสร้างแนวทางการพัฒนาส่งเสริมสนับสนุนการบริหารด้านการตลาดขององค์กรได้
- สามารถสร้างโอกาสใหม่ๆ ทางการตลาดขององค์กรได้
- สามารถประเมินผลกลยุทธ์ทางการตลาดต่างๆ ได้ อาทิเช่น การโฆษณา การจัดโปรโมชัน และการบริการหลังการขาย เป็นต้น
- สามารถลดการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้กับความไม่รู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลของลูกค้านั้นมาก่อนได้
- สามารถเพิ่มยอดขายจากการทราบถึงฐานข้อมูลของลูกค้านั้นมาก่อนได้
- สามารถประเมินผลระดับความสำเร็จในแต่ละกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการบริหารการตลาดได้
สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งขององค์กรในการนำเอาฐานข้อมูลของลูกค้ามาใช้งานแล้วเกิดปัญหาขึ้นกับลูกค้า โดยมีทั้งที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตามนั้น คือการเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าให้กับองค์กรที่ทำธุรกิจร่วมกัน สืบเนื่องมาจากการที่องค์กรต้องการขยายช่องทางการเสนอขายสินค้า/บริการให้มากขึ้น ซึ่งการเข้าถึงฐานข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้น ถือเป็นการละเมิดต่อสิทธิส่วนบุคคลและถือเป็นการกระทำโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้นการเลือกใช้ฐานข้อมูลของลูกค้านั้น องค์กรจำเป็นต้องทำด้วยความระมัดระวังเป็นอย่างมาก เนื่องจากสิ่งนี้อาจทำให้องค์กรเองแทนที่จะได้ประโยชน์จากการใช้ฐานข้อมูลลูกค้าเหล่านี้ แต่อาจกลับต้องสูญเสียมูลค่าอย่างมหาศาลได้เช่นเดียวกัน