หน้าแรก
- ทรัพยากรบุคคล
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการสรรหา(Recruitment)
- การเงินและบัญชี
- หน้ารายการ
- อ่านงบการเงินเป็นได้อย่างไร
- เทคนิคการวิเคราะห์งบการเงิน
- วิธีการจัดทำและวิเคราะห์งบการเงิน
- สูตรการคำนวณอัตราส่วน
- การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
- การจัดทำงบประมาณ
- การศึกษาทางการเงินเพื่อขยายกิจการ
- การเปรียบเทียบงบประมาณ
- การจัดทำงบกระแสเงินสดแบบง่าย
- การจัดทำรายงานสำหรับผู้บริหาร
- นโบบายบัญชีและการเงิน
- ความรู้เบื้องต้นในเรื่องบัญชี
- การบันทึกบัญชีรายรับรายจ่าย
- การมีระบบใบสำคัญรับ-จ่ายของธุรกิจ SMEs
- การวางระบบบัญชีของกิจการ
- ความรู้เรื่องงบการเงิน
- การยื่นขอสินเชื่อธนาคาร
- หลักเกณฑ์การให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน
- การเตรียมแผนธุรกิจเพื่อขอสินเชื่อ
- มารู้จักความหมายที่แท้จริงของเงินทุนหมุนเวียน
- เทคนิคการบริหารเงินสดให้มีสภาพคล่อง
- การบริหารลูกหนี้การค้า
- เงื่อนไขที่ควรมีกับการให้เครดิตเทอมแก่ลูกหนี้การค้า
- การเสนอส่วนลดเงินสดให้แก่ลูกหนี้การค้า
- การเร่งรัดและติดตามลูกหนี้การค้า
- เตรียมความพร้อมและติดตามการขอสินเชื่อกัน
- การยื่นงบการเงิน
- การบริหารจัดการเจ้าหนี้การค้า
- การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจ
- การตัดสินใจการลงทุน
- การวิเคราะห์การลงทุน
- การวางแผนภาษีนิติบุคคลของธุรกิจ SMEs
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการบันทึกรายรับรายจ่าย
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการวางแผนการจัดซื้อ
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการบริหารลูกหนี้การค้า
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการบริหารจัดการสินค้าคงเหลือ
- ตัวอย่างกรณีศึกษาของธุรกิจ SMEs เรื่องการวางระบบการคำนวณต้นทุนการผลิต
- คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ
- ทัศนคติและคุณสมบัติของผู้ประกอบการที่ดี
- คุณพร้อมหรือไม่ในการเป็นเจ้าของธุรกิจ
- ความแตกต่างระหว่างการเช่ากับการเช่าซื้อทรัพย์สิน
- โลจีสต์ติกและการขนส่ง
- การขายและการตลาด
- การขยายตลาดเพื่อเพิ่มยอดขาย
- 8 กลยุทธ์ช่วยธุรกิจเติบโตทุกสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
- 5 ข้อควรระวังบริหารกิจการช่วงขาลง
- 7 ยุทธวิธีสร้างกิจการเจริญเติบโตช่วงเศรษฐกิจขาลง
- เครื่องมือทางการตลาด 4P
- การวิจัยด้านการตลาด
- การวิเคราะห์ 5 forces
- ทำไมต้องจัดเก็บประวัติลูกค้า
- แนวคิดการตั้งราคาขาย
- การบริหารความต้องการลูกค้า
- เครื่องมือการตลาดที่ SMEs ควรรู้
- สร้างธุรกิจเติบโต ด้วยกลยุทธ์การเจาะตลาด
- การสร้างตราสินค้า
- การบริหารคงคลังโดย FIFO
- การจัดการสินค้าคงคลัง
- มารู้จัก Bar Code กัน
- ABC analysis
- การลดความสูญเสียในกระบวนการทำงาน
- มารู้จัก GMP กัน
- ต้นทุนการผลิต และวิธีการลดต้นทุนการผลิต
- SMEs Case Study บริษัท ผลิภัณฑ์อาหารสุนี จำกัด #ลดความสูญเสียในส่วนของการผลิต
- SMEs Case Study บริษัท ผลิภัณฑ์อาหารสุนี จำกัด #ลดการสูญเสียเนื้อปลาในกระบวนการผลิต
- SMEs Case Study บริษัท ผลิภัณฑ์อาหารสุนี จำกัด #การปรับปรุงวิธีการทำงาน เพื่อลดต้นทุนการผลิต
- SMEs Case Study #หจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
- SMEs Case Study #บริษัท ต หมูกระจกโคราช จำกัด
- SMEs Case Study #หจก.บุสยาริณฑ์
- SMEs Case Study #โรงงานผลิตอาหารทะเลแช่แข็ง
- SMEs Case Study #โรงงานผลิตยางแท่ง STR 20
- SMEs Case Study #แผนกตรวจสอบคุณภาพเสื้อผ้า
- SMEs Case Study #โรงงานผลิตน้ำแข็งเพื่อการบริโภค
- แนวคิดการทำธุรกิจ #สร้างสรรที่กรวดน้ำพกพา
- แนวคิดการทำธุรกิจ #แค่เปลี่ยนวิธีนำเสนอแบบใหม่ก็ขายได้แล้ว
- แนวคิดการทำธุรกิจ
- Idea การทำธุรกิจ ธุรกิจที่มาแรง ในปี พ.ศ.2016
- 25 ไอเดียธุรกิจสุดเจ๋ง! ที่คุณสามารถทำควบคู่ไปกับงานประจำ
- 4 ไอเดียธุรกิจส่วนตัว ที่น่าสนใจในปี 2560
- 5 วิธีคิด เพื่อสร้างไอเดียธุรกิจใหม่ๆ สำหรับทำธุรกิจปีไก่ กุ๊กกุ๊ก
- 7 ไอเดียธุรกิจ สำหรับการหาเงินแบบ จับเสือมือเปล่า
- 10 ไอเดีย เริ่มต้นทำธุรกิจอะไรดี ในปี 2017
- ไอเดียทำธุรกิจแบบอินดี้ อินดี้ ที่น่าสนใจสำหรับวัยรุ่น ปี 2560
- การหาจุดคุ้มทุน
- แนวโน้มอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2560
- แนวโน้มอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
- แน้วโน้มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติก ปี 2560
- คุณภาพและมาตรฐาน
- หน้ารายการ
- ความหมายของคุณภาพสินค้า
- คุณภาพสินค้าสำคัญอย่างไร
- คุณภาพในมุมมองของผู้ผลิตและลูกค้า
- การกำหนดคุณภาพสินค้า
- การทดสอบหาวันหมดอายุของผลิตภัณฑ์อาหาร
- ต้นทุนของคุณภาพ
- การควบคุมคุณภาพเริ่มต้นอย่างไร
- ฉลากอาหารต้องมีข้อมูลอะไรบ้าง
- แนวทางการตรวจสอบคุณภาพอย่างง่าย
- การปรับปรุงคุณภาพและพัฒนางาน ตอนที่ 1
- การปรับปรุงคุณภาพและพัฒนางาน ตอนที่ 2
- การแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพ
- เครื่องมือในการควบคุมคุณภาพ
- มาตรฐานคุณภาพสำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อการยอมรับ
- อาหารประเภทใดบ้างที่ต้องมี อย.
- อาหารใดบ้างที่ต้องมีฉลาก
- แนวทางการยืดอายุอาหารและเครื่องดื่ม
- ประเภทบรรจุภัณฑ์กับอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ตอนที่ 1
- ประเภทบรรจุภัณฑ์กับอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ตอนที่ 2
- การทดสอบหาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารในสภาวะเร่ง
- แนวทางการคัดเลือกบรรจุภัณฑ์อาหารที่เหมาะสม
- การเลือกใช้สารปรุงแต่งกลิ่นรสในอาหาร
- การปรับปรุงสินค้าเดิมเพื่อลดต้นทุน
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
- การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้สอดคล้องกับกระแสการบริโภค
- การนำสินค้าใหม่ไปทำวิจัยตลาด
- แนวทางปฏิบัติของการบริหารกลยุทธ์ที่แตกต่างกันในแต่ละขั้นตอนของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
- การปรับปรุงสินค้าเดิมเพื่อยืดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
- แนวโน้มอุตสาหกรรมและขนาดตลาดของธุรกิจอาหาร
- แนวโน้มอุตสาหกรรมและขนาดตลาดของธุรกิจแปรรูปสมุนไพร
- แนวโน้มอุตสาหกรรมและขนาดตลาดของธุรกิจแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
- การจัดรูปแบบโรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่มให้สอดคล้องกับ GMP ตอนที่ 1
- กรณีศึกษา : โรงขนมจีนกับการเตรียมตัวเพื่อขอการรับรอง GMP
- กรณีศึกษา : โรงผลิตผงปรุงรสกับการปรับปรุงงานเพื่อประสิทธิภาพการผลิต
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตซอส เพิ่มประสิทธิภาพและลดสูญเสียด้วยกิจกรรมกลุ่ม QCC
- กรณีศึกษา : โรงขนมจีนกับการลดสูญเสียโดยการปรับปรุงคุณภาพงานด้วยวงจร PDCA
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตก๋วยเตี๋ยวปรับปรุงคุณภาพสินค้าด้วยเครื่องมือคุณภาพ
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตแหนม เพิ่มประสิทธิภาพและลดสูญเสียด้วยกิจกรรมกลุ่ม QCC
- กรณีศึกษา : โรงงานผลิตบะหมี่แช่แข็งต้องการปรับปรุงคุณภาพเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา
- ทรัพยากรบุคคล
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการสรรหา(Recruitment)
- การคัดเลือกบุคลากร (Selection)
- เทคนิคการสัมภาษณ์ก่อนการตัดสินเลือก (Interview)
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการปฐมนิเทศ (Orientation)
- การออกแบบระบบประเมินผลงาน
- รูปแบบการประเมินผลงาน
- ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- บริหารทรัพยากรบุคคลกับการกำหนดข้อบังคับและวินัยในการทำงาน
- งานเอกสารเกี่ยวกับงานบุคคล
- สำรวจข้อมูล SWOT
- การวางแผนและการสร้างระบบความก้าวหน้าในอาชีพ
- ประโยชน์ของระบบความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path)
- ตัวชี้วัดประสิทธิผลของโปรแกรมความก้าวหน้าในอาชีพ
- คาดการณ์ความต้องการบุคลากร
- ภาพรวมการบริหารทรัพยากรบุคคล
- บริหารแรงงานต่างด้าว
- ถามมา-ตอบไปกับงานบุคคล
- การบริหารจัดการผู้มีความสามารถโดดเด่น
- อบรมและพัฒนาบุคลากร: การประเมินความจำเป็นในการฝึกอบรม
- อบรมและพัฒนาบุคลากร: การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม
- อบรมและพัฒนาบุคลากร: รูปแบบ/วิธีการฝึกอบรม
- การประเมินผลการพัฒนาบุคลากร
- การบริหารค่าตอบแทน: วิธีการประเมินค่างาน
- การบริหารค่าตอบแทน: รูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนต่อการปฏิบัติงาน
- การบริหารค่าตอบแทน: กฎหมายกับการจ่ายค่าจ้าง
- สิทธิประโยชน์บริการพนักงาน
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน ด้วยกิจกรรมกลุ่มย่อย
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน : การสร้างความยุติธรรม
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน: จริยธรรม/คุณธรรม
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน: รูปแบบการสร้างสัมพันธภาพ
- การบริหารจัดการสัมพันธ์ในหน่วยงาน: การสำรวจความพึงพอใจ
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความปลอดภัย
- การตรวจสอบสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน
- โครงสร้างองค์การ (Organization Structure)
- การวางแผนอัตรากำลังคนในช่วงเริ่มต้นธุรกิจ
- การวิเคราะห์งาน (Job Analysis)
- คาดการณ์แรงงานที่มีและความต้องการของแรงงานในธุรกิจที่ทำ
- การกำหนดคำพรรณาลักษณะงาน (JD)
- การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง (JS)
- โครงสร้างอัตราเงินเดือนพื้นฐานและสิทธิประโยชน์
- กำหนดนโยบายและระเบียบพื้นฐาน
- การกำหนดสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน
- กฏหมาย
- เทคโนโลยีสารสนเทศ
เว็บไซต์ภายใต้กรม ฯ
บทความที่เกี่ยวข้อง
บริหารทรัพยากรบุคคลกับการสรรหา(Recruitment)
การสรรหา คือ กระบวนการกลั่นกรอง บุคคลที่มีคุณสมบัติและประสบการณ์ตามที่หน่วยงานต้องการในแต่ละตำแหน่งที่ประกาศสรรหา
การสรรหาบุคลากรจัดเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญของทฤษฎีระบบ (System Theory) อันประกอบด้วย ปัจจัย (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) และคนจัดเป็นปัจจัยที่สำคัญในการผลิต ดังนั้นการสรรหาและคัดเลือกผู้มาร่วมวัฒนธรรมเดียวกับเราจึงเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการควรให้ความสำคัญ
กระบวนการสรรหาบุคลากร มีดังนี้
1. วิเคราะห์ความต้องการของงานว่าต้องการคนที่มีคุณสมบัติอย่างไร อาทิ อายุ เพศ การศึกษา ประสบการณ์ เป็นต้น
2. ประกาศรับสมัครผ่านสื่อต่าง ๆ ที่นิยมกันมากคือสื่ออิเลคโทรนิกส์ อาทิ JobsDB.com, jobthai.com, jobtopgun.com
3. คัดกรองผู้สมัครเบื้องต้น จากใบสมัคร และ รูปถ่าย
4. นัดหมายสัมภาษณ์ และ/หรือ ทดสอบทักษะ
แหล่งที่มาของการสรรหาบุคลากร
ปกติหาเป็นธุรกิจที่ดำเนินการแล้วจะแยกเป็นแหล่งสรรหาบุคลากรจากภายใน และ ภายนอก แต่สำหรับกรณีธุรกิจใหม่ การสรรหาจำเป็นต้องใช้ภายนอก โดยมีวิธีการ ดังนี้
1. เดินเข้ามาสมัครด้วยตนเอง (Walk-ins/Unsolicited Applicant Files) เป็นวิธีการที่ง่าย และ มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ผู้สรรหาได้เห็นบุคลิก หน้าตา ท่าทาง และ ได้พูดคุยแม้จะไม่เป็นทางการ ก็ช่วยในการเลือกได้ระดับหนึ่ง หน่วยงานควรยินดีให้ผู้สมัครงานเขียนใบสมัครทิ้งเอาไว้ (แม้จะยังไม่มีตำแหน่งว่างก็ตาม) เพื่อความรวดเร็วในสรรหาบุคลากรในคราวต่อไป จำนวนใบสมัครที่ผู้สมัครมาเขียนทิ้งไว้แสดงถึงชื่อเสียงของหน่วยงาน
2. อ้างอิง (Referrals) โดยบุคลากรภายในหน่วยงาน หรือ ผู้ที่เราเชื่อถือ บางหน่วยงานจะมีรางวัลให้บุคลากรที่ชวนเพื่อนมาทำงานในหน่วยงาน และ เพื่อนเขาทำงานให้หน่วยงานอย่างน้อย 1 ปี
3. การลงโฆษณาในสื่อ (Advertising) โดยใช้สื่อต่างๆ เนื้อหาการประกาศมีดังนี้
1) รายละเอียดเกี่ยวกับงาน และ ความรับผิดชอบหลัก ๆ
2) อธิบายตามความเป็นจริงเกี่ยวกับสภาวะงาน (Working Conditions) โดยเฉพาะหากสภาวะนั้นไม่เป็นปกติ เช่น ร้อน หรือ ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุ
3) ที่ตั้งของงาน
4) ค่าตอบแทน รวมถึง ผลประโยชน์อื่น ๆ
5) คุณสมบัติของผู้ทำงานในตำแหน่งนั้น ๆ อาทิ การศึกษา ประสบการณ์
6) สมัครได้ที่ไหน กับใคร
4. สถาบันการศึกษา อาทิ โรงเรียน มหาวิทยาลัย สถาบันฝึกอาชีพ เราสามารถติดต่อไปที่สถาบันเพื่อขอตั้งโต๊ะรับสมัครในช่วงเวลาใกล้สำเร็จการศึกษา หรือขอรับเด็กมาฝึกงาน เพื่อดูผลงานและคัดเลือกเข้าทำงานเมื่อเด็กจบต่อไป
5. หน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมการจัดหาแรงงาน
6. จากฐานข้อมูล หรือ จาก Website ในปัจจุบันฝ่ายบุคคลนิยมใช้สื่ออิเล็คโทรนิกส์ ในการสรรหาบุคลากร เพราะสะดวก และ รวดเร็ว
ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง :
“10 ขั้นตอนสรรหาผู้สมัครงานอย่างเป็นระบบ” th.jobsdb.com
“การสรรหาบุคลากร” sanhawsk.wordpress.com
“กระบวนการสรรหาคัดเลือกบุคลากร” humanrevod.wordpress.com